พันธะเคมีและพันธะไอออนิก

พันธะเคมี (Chemical Bonding)


กฎออกเตต เป็นการจัดเรียงอิเล็กตรอนของอะตอมให้ได้ครบ 8 ตัวพันธะเคมี เป็นแรงยึดเหนี่ยวภายในและภายนอกระหว่างอะตอม โมเลกุล หรือไอออน พันธะเคมีเกิดจากเวเลนซ์อิเล็กตรอน (อิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุด) ของอะตอมนั้นมีจำนวนอิเล็กตรอนครบ 8 ตัว ซึ่งเป็นไปตามกฎออกเตต ทำให้ธาตุนั้นเสถียร ด้วยวิธีการต่างๆ คือ1. ให้อิเล็กตรอนกับอะตอม2. รับอิเล็กตรอนจากอะตอมอื่น3. ใช้อิเล็กตรอนร่วมกันกับอะตอมอื่นซึ่งแบ่งออกได้ 6 ชนิด คือ พันธะไอออนิก พันธะโควาเลนต์ พันธะโควาเลนต์ พันธะไฮโดรเจน พันธะโลหะ และแรงแวนเดอร์วาลส์พันธะไอออนิก (Ionic bond) คือ แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดในสาร โดยที่อะตอมของธาตุที่มีค่าพลังงาน
ไอออไนเซชันต่ำ ให้เวเลนต์อิเล็กตรอนแก่อะตอมของธาตุที่มีค่าพลังงานไอออนไนเซชันสูง กลายเป็นไอออนที่มีประจุบวกและประจุลบ เมื่อไอออนทั้งสองเข้ามาอยู่ใกล้กันจะเกิดแรงดึงดูด
ทางไฟฟ้าที่แข็งแรงระหว่างประจุไฟฟ้าตรงข้ามเหล่านั้น ทำให้ไอออนทั้งสองยึดเหนี่ยวกัน

เช่น การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) จากโซเดียม (Na) อะตอมคลอรีน (Cl) อะตอม
อะตอมโลหะ Na เลขอะตอม = 11 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอน 2,8,1
อะตอมโลหะ Cl เลขอะตอม = 17 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอน 2,8,7
ดังนั้น Na จะสูญเสียอิเล็กตรอน 1 ตัว ส่วน Cl จะรับอิเล็กตรอน ทำให้มีการจัดเรียงเป็น 2, 8 , 8
เมื่อโลหะรวมกับอโลหะด้วยพันธะไอออนิก เกิดเป็นสารประกอบไอออนิกโดยอะตอมโลหะให้อิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนบวก และอะตอมของอโลหะรับอิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนลบ ซึ่งเป็นสารที่แข็งแต่เปราะ มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูงเพราะอยู่ในสภาพไอออน สามารถละลายน้ำได้ดี ไม่นำไฟฟ้าอยู่ในสถานะของแข็ง แต่ถ้าไปทำให้หลอมจนเป็นของเหลวจะนำไฟฟ้าได้

ตัวอย่าง โครงสร้างสารประกอบไอออนิก NaCl
ไอออไนเซชันต่ำ ให้เวเลนต์อิเล็กตรอนแก่อะตอมของธาตุที่มีค่าพลังงานไอออนไนเซชันสูง กลายเป็นไอออนที่มีประจุบวกและประจุลบ เมื่อไอออนทั้งสองเข้ามาอยู่ใกล้กันจะเกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้าที่แข็งแรงระหว่างประจุไฟฟ้าตรงข้ามเหล่านั้น ทำให้ไอออนทั้งสองยึดเหนี่ยวกัน
เช่น การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) จากโซเดียม (Na) อะตอมคลอรีน (Cl) อะตอมอะตอมโลหะ Na เลขอะตอม = 11 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอน 2,8,1อะตอมโลหะ Cl เลขอะตอม = 17 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอน 2,8,7ดังนั้น Na จะสูญเสียอิเล็กตรอน 1 ตัว ส่วน Cl จะรับอิเล็กตรอน ทำให้มีการจัดเรียงเป็น 2, 8 , 8 เมื่อโลหะรวมกับอโลหะด้วยพันธะไอออนิก เกิดเป็นสารประกอบไอออนิกโดยอะตอมโลหะให้อิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนบวก และอะตอมของอโลหะรับอิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนลบ ซึ่งเป็นสารที่แข็งแต่เปราะ มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูงเพราะอยู่ในสภาพไอออน สามารถละลายน้ำได้ดี ไม่นำไฟฟ้าอยู่ในสถานะของแข็ง แต่ถ้าไปทำให้หลอมจนเป็นของเหลวจะนำไฟฟ้าได้
ตัวอย่าง โครงสร้างสารประกอบไอออนิก NaCl
ไอออไนเซชันต่ำ ให้เวเลนต์อิเล็กตรอนแก่อะตอมของธาตุที่มีค่าพลังงานไอออนไนเซชันสูง กลายเป็นไอออนที่มีประจุบวกและประจุลบ เมื่อไอออนทั้งสองเข้ามาอยู่ใกล้กันจะเกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้าที่แข็งแรงระหว่างประจุไฟฟ้าตรงข้ามเหล่านั้น ทำให้ไอออนทั้งสองยึดเหนี่ยวกัน
เช่น การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) จากโซเดียม (Na) อะตอมคลอรีน (Cl) อะตอมอะตอมโลหะ Na เลขอะตอม = 11 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอน 2,8,1อะตอมโลหะ Cl เลขอะตอม = 17 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอน 2,8,7ดังนั้น Na จะสูญเสียอิเล็กตรอน 1 ตัว ส่วน Cl จะรับอิเล็กตรอน ทำให้มีการจัดเรียงเป็น 2, 8 , 8 เมื่อโลหะรวมกับอโลหะด้วยพันธะไอออนิก เกิดเป็นสารประกอบไอออนิกโดยอะตอมโลหะให้อิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนบวก และอะตอมของอโลหะรับอิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนลบ ซึ่งเป็นสารที่แข็งแต่เปราะ มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูงเพราะอยู่ในสภาพไอออน สามารถละลายน้ำได้ดี ไม่นำไฟฟ้าอยู่ในสถานะของแข็ง แต่ถ้าไปทำให้หลอมจนเป็นของเหลวจะนำไฟฟ้าได้
ตัวอย่าง โครงสร้างสารประกอบไอออนิก NaCl
ไอออไนเซชันต่ำ ให้เวเลนต์อิเล็กตรอนแก่อะตอมของธาตุที่มีค่าพลังงานไอออนไนเซชันสูง กลายเป็นไอออนที่มีประจุบวกและประจุลบ เมื่อไอออนทั้งสองเข้ามาอยู่ใกล้กันจะเกิดแรงดึงดูดทางไฟฟ้าที่แข็งแรงระหว่างประจุไฟฟ้าตรงข้ามเหล่านั้น ทำให้ไอออนทั้งสองยึดเหนี่ยวกัน
เช่น การเกิดสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) จากโซเดียม (Na) อะตอมคลอรีน (Cl) อะตอมอะตอมโลหะ Na เลขอะตอม = 11 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอน 2,8,1อะตอมโลหะ Cl เลขอะตอม = 17 มีการจัดเรียงอิเล็กตรอน 2,8,7ดังนั้น Na จะสูญเสียอิเล็กตรอน 1 ตัว ส่วน Cl จะรับอิเล็กตรอน ทำให้มีการจัดเรียงเป็น 2, 8 , 8 เมื่อโลหะรวมกับอโลหะด้วยพันธะไอออนิก เกิดเป็นสารประกอบไอออนิกโดยอะตอมโลหะให้อิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนบวก และอะตอมของอโลหะรับอิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนลบ ซึ่งเป็นสารที่แข็งแต่เปราะ มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูงเพราะอยู่ในสภาพไอออน สามารถละลายน้ำได้ดี ไม่นำไฟฟ้าอยู่ในสถานะของแข็ง แต่ถ้าไปทำให้หลอมจนเป็นของเหลวจะนำไฟฟ้าได้
ตัวอย่าง โครงสร้างสารประกอบไอออนิก NaCl




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น